ไวซ์ไซท์ ชวนชาวโซเชียลลุ้นประกาศผลผู้ทรงอิทธิพล งาน THAILAND ZOCIAL AWARDS ครั้งที่ 10
ไวซ์ไซท์ ชี้การเปลี่ยนแปลงสังคมออนไลน์ในรอบ10ปี จากยุค 'เน็ต ไอดอล' ถึง 'อินฟลูเอ็นเซอร์' เฉพาะกลุ่ม พร้อมจัดใหญ่งาน TZW ครั้งที่ 10 รวมผู้ทรงอิทธิพลบนโซเชียล ทุกสาขามากสุดในไทย
คุณกล้า ตั้งสุวรรณ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร และ คุณพุทธศักดิ์ ตันติสุทธิเวท Data Research Manager บริษัท ไวซ์ไซท์ (ประเทศไทย) จำกัด ผู้ให้บริการด้านการวิเคราะห์ข้อมูลโซเชียล ร่วมเปิดเผยว่า การเปลี่ยนแปลงของสัมคมออนไลน์ในรอบ 10ปีที่ผ่านมาเริ่มจากยุค 'เน็ต ไอเดอล' และเปลี่ยนสู่ยุคกลุ่มผู้นำทางความคิด (KOL) ผู้ทรงอิทธิพล (Influencer) ที่เชี่ยวชาญ หัวข้อเฉพาะด้านมากขึ้น พร้อมปรับรูปแบบการนำเสนอคอนเทนต์ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายผู้ชม (Audience)ในแพล็ตฟอร์มโซเชียล มีเดีย อาทิ เฟซบุ๊ค อินสตาแกรม ยูทูป และ ทวิตเตอร์
อินฟลูฯ ต้องพร้อมรับยุคทัวร์ลง
โดยแนวโน้มน่าสนใจในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา จะเห็นกลุ่มอินฟลูเอ็นเซอร์ เกิดใหม่เป็นจำนวนมาก และจากการสำรวจข้อมูลในกลุ่มนักศึกษา สาขานิเทศสาสตร์ ยังระบุว่าต้องการประกอบอาขีพยูทูเบอร์ หรือต้องการเป็นอินฟลูเอ็นเซอร์มากกว่าอาชีพดารานักแสดง
นอกจากนี้ลักษณะอินฟลูเอ็นเซอร์ ที่มีความเป็นตัวเอง แต่สามารถนำเสนอคอนเทนต์ที่หลากหลายหมวดหมู่ได้มากขึ้น เพื่อสร้างความ สัมพันธ์(เอ็นเกจเมนต์)กับผู้เติดตาม(Follower)ที่มีจำนวนหลักหมื่นรายขึ้นไป ซึ่งพบว่าเป็นกลุ่มที่มีแนวโน้มขยายตัวมากขึ้นอีก
ขณะเดียวกันในปัจจุบัน ผู้รับชม (Audience) ยังจะได้เห็นคอนเทนต์ หรือ เนื้อหาที่มีความดรามาเป็นจำนวนมากขึ้น และมีแนวโน้มที่ผู้รับชม หรือแม้แต่แฟนคลับก็พร้อมเข้าไปตรวจสอบความถูกต้องหรือแสดง ความคิดเห็นต่อเรื่องราวที่เกิดขึ้นจนกลายเป็นกระแสในโซเชียล ออนไลน์ หรือ เรียกว่า "ทัวร์ลง" และมีแนวโน้มว่าดราม่า คอนเทนต์ จะยัง เกิดขึ้นอีกมาก ซึ่งอืนฟลูฯเหล่านี้จะต้องพร้อมเคลื่อนไหวทันที หากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว
เข้าสู่ยุคคนดูเท่าเดิม แต่คอนเทนต์มากขึ้น
นอกจากนี้การเปลี่ยนแปลงของสื่อสังคมออนไลน์ ที่ขัดเจนในรอบ 10ปี คือ Engagement การมีส่วนร่วมของผู้รับชมบนแพล็ตฟอร์ม โซเชียลมีเดียที่คาดว่าจะลดลง จากปัจจัยความหลากหลายและปริมาณคอนเทนต์จากครีเอเตอร์ รายเดิมและใหม่ที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมาก ขณะที่ช่องทางแพล็ตฟอร์มการรับชม หรือ จำนวนผู้ชม (Audience) ยังมีเท่าเดิม ส่งผลให้เกิดการปิดกั้นคอนเทนต์จากเจ้าของแพล็ตฟอร์มต่อเจ้าของช่อง หรือ ครีเอเตอร์นั้นๆ
ขณะที่แบรนด์สินค้าตั้งแต่ระดับกลางขึ้นไปสามารปรับแนวทางการทำตลาดผ่านอินฟลูเอ็นเซอร์เพื่อสื่อสารเฉพาะกลุ่มเป้าหมาย ด้วยปัจจุบันผู้บริโภคจะไม่เชื่อเแบรนด์ที่ออกมาสื่อสารเอง ซึ่งแนวทางการทำคอนเทนต์เพื่อสื่อสารในโซเชียลมีเดีย จะมีขั้นตอนการผลิตที่สะดวกและง่ายขึ้น ซึ่งคอนเทนต์ ครีเอเตอร์ หนึ่งคนสามารถทำได้เกือบทุกอย่างได้ด้วยตัวเอง โดยสิ่งที่ท้าทายที่สุด คือ การเล่าเรื่อง หรือ ความคิดสร้างสรรค์ ในการนำเสนอคอนเทนต์ ผ่านฟรีมีเดียที่ทุกคนเข้าถึงได้
"แนวโน้ม จะได้เห็นอินฟลูเอ็นเซอร์ที่มีความเฉพาะกลุ่ม หรือ Niche มากขึ้น จากคอนเทนต์ที่มีความแตกกระจายมากขึ้น โดยเฉพาะคอน เทนต์ หรือ อินฟลูฯ ท้องถิ่นแต่ละภูมิภาค นำเสนอเรื่องราวท้องถิ่นของ พวกเขา"
ลุ้นผลแบรนด์-อินฟลูเอ็นเซอร์ ผ่านเวที TWZ#10
โดยปีนี้ บริษัท เตรียมจัดงาน จัดงาน “THAILAND ZOCIAL AWARDS 2022” งานประกาศรางวัลโซเชียลที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ ไทย ครั้งที่10 เพื่อเชิดชูแบรนด์ อินฟลูเอนเซอร์ และบุคคลในวงการ บันเทิงที่ทำผลงานยอดเยี่ยมบนโลกโซเชียลในสาขาต่างๆ ผ่านการ วัดประสิทธิภาพความสามารถในการทำกิจกรรมการตลาดผ่านโซเชีย ลมีเดียอย่างเป็นรูปธรรม
พร้อมปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดงานเป็น VIRTUAL EVENT เพื่อความปลอดภัยสูงสุด โดยสามารถติดตามรับชมงาน ประกาศรางวัล THAILAND ZOCIAL AWARDS ครั้งที่ 10 ผ่านช่องทาง FACEBOOK LIVE www.facebook.com/thailandzocialawards ใน วันที่ 22 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13:00 น. เป็นต้นไป
WISESIGHT METRIC เครื่องมือวัดผลโซเชียล
โดย ไวซ์ไซท์ ยังได้พัฒนาดัชนีชี้วัด “WISESIGHT METRIC” เพื่อวัด ผลบนโซเชียลมีเดียที่สอดคล้องกับพฤติกรรมการใช้งานของผู้ใช้ใน ประเทศไทยที่มีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยวัดผลใน 4 ช่องทาง คือ Facebook, Instagram, Twitter, YouTube และแบ่ง METRIC ที่ใช้ วัดผลรางวัลในครั้งนี้ออกเป็น 3 กลุ่ม คือ
BRAND METRIC ใช้เป็นเกณฑ์การตัดสินรางวัลกลุ่ม Best Brand Performance on Social Media พิจารณาความสามารถของแบรนด์ ผ่านการสื่อสารบนช่องทางโซเชียลมีเดียหลักของแบรนด์ (Official Channel) รวมถึงพิจารณาผ่านการได้รับการกล่าวถึงจากสื่อและผู้ บริโภค
ENTERTAINMENT METRIC ใช้เป็นเกณฑ์การตัดสินรางวัลกลุ่ม Best Entertainment Performance on Social Media เพื่อวัดความนิยม ของนักแสดง นักร้อง ภาพยนตร์ ละคร ข่าว รายการโทรทัศน์ เพลง และพอดแคสต์บนโซเชียลมีเดีย ทั้งการตอบรับจากแฟนคลับและการ พูดถึงในวงกว้าง
INFLUENCER METRIC ใช้เป็นเกณฑ์การตัดสินรางวัลกลุ่ม Best Influencer Performance on Social Media วัดความสามารถของบ ล็อกเกอร์ อินฟลูเอนเซอร์ และผู้ทรงอิทธิพลบนโซเชียลในสาขาต่างๆ
18 Mrntors ตัดสินผลงาน
นอกจากนี้ การประกาศรางวัล THAILAND ZOCIAL AWARDS 2022 ยังได้แบ่งผู้ที่ทำผล (Mentor) 18 ท่าน ในการแลกเปลี่ยนมุมมอง และร่วมพิจารณาผลการตัดสินให้ออกมาอย่าง สมบูรณ์ที่สุด ได้แก่ 1. คุณกสม วิชชุลดา Managing Director, Numpaichai Co., Ltd. 2. คุณกิตติพัฒน์ มหพันธ์ ผู้ก่อตั้ง BUZZPURR 3. คุณชลากรณ์ ปัญญาโฉม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร สายงานดิจิทัล บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด (มหาชน)
4. คุณชัยวุฒิ? ผาติภากร? Talent Director, POPS Thailand 5. คุณ พงษ์ปิติ ผาสุขยืด ผู้ก่อตั้งเพจ Ad Addict 6.คุณพันธ์ศักดิ์ ลิ้มวัฒนายิ่งยง กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอนี่มายด์ กรุ๊ป จำกัด 7. คุณมัณฑิตา จินดา กรรมการผู้จัดการ และผู้ก่อตั้ง ดิจิทัล ทิปส์ อคาเดมี 8. คุณยุทธนา บุญอ้อม รองผู้อำนวยการอาวุโส หน่วยงาน GMM Showbiz บริษัท จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ จำกัด (มหาชน)
9.คุณวิเชียร ฤกษ์ไพศาล CEO, WAY-T 168 (Thailand) 10. ศ.วิทวัส รุ่งเรืองผล ศาสตราจารย์ประจำภาควิชาการตลาด คณะพาณิชยศาสตร์และการ บัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 11.คุณสโรจ เลาหศิริ Head of Marketing Transformation and Marketing Strategy, Bluebik Group Public Company Limited 12. คุณสิทธิพงศ์ ศิริมาศเกษม ผู้ก่อตั้งและกรรมการบริหาร บริษัท RGB72 และ CREATIVE TALK จำกัด
13. คุณสุรศักดิ์ เหลืองอุษากุล นักวางกลยุทธ์การตลาด บริษัท แบ รนด์เบเกอร์ จำกัด 14. คุณอภิศิลป์ ตรุงกานนท์ ผู้ร่วมก่อตั้งและ ประธานเจ้าหน้าที่เทคโนโลยีเว็บไซต์ Pantip.com 15. ผศ. ดร.เอกก์ ภทรธนกุล ประธานหลักสูตร MBM และอาจารย์ประจำ คณะพาณิช ยศาสตร์และการบัญชี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พร้อมด้วย คณะปรึกษาพิเศษอีก 3 ท่าน คือ 1. คุณกฤษณ์ บุญญะรัง ผู้ก่อตั้ง บริษัท เดอะสกา ฟิล์ม จำกัด เจ้าของช่องยูทูป Bie The Ska 2. คุณพงศ์สุข หิรัญพฤกษ์ ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โชว์ไร้ขีด จำกัด (SHOW NO LIMIT) เจ้าของเว็บไซต์ Beartai.com และ 3. คุณสรศาสตร์ วิเศษสินธุ์ เจ้าของเพจ Gluta Story เพื่อร่วมเป็นที่ปรึกษา พิเศษในกลุ่มรางวัล Best Influencer Performance on Social Media
8 กลุ่มที่สุดของแบรนด์
โดยผลงานยอดเยี่ยมบนโซเชียลมีเดีย แบ่งออกเป็น 8 กลุ่ม คือ Best Brand , Performance on Social Media, Best Brand Performance on Social Media by Platforms, Best Media Innovation, Best Entertainment Performance on Social Media, Best Influencer Performance on Social Media, Special Award, Honorary Influencer Award
และรางวัลไฮไลท์เนื่องในโอกาสฉลองครบรอบการ เดินทางเข้าสู่ปีที่ 10 ของ THAILAND ZOCIAL AWARDS ในครั้งนี้คือ Best Performing Brand of the Decade รางวัลพิเศษรางวัลเดียวของ งานที่มอบให้กับแบรนด์ที่ทำผลงานโดดเด่นบนโซเชียลมีเดียมาอย่าง ยาวนานตลอด 10 ปี
เปิดโผรายชื่อผู้เข้าชิง
สำหรับ ผู้เข้าชิงกลุ่มรางวัล Best Brand Performance on Social Media จำนวน 28 สาขา ได้แก่ Automotive (กลุ่มธุรกิจยานยนต์) ได้แก่ Honda, Honda Motorcycle, Nissan, Toyota Motor, Yamaha Bank (กลุ่มธุรกิจธนาคาร) ได้แก่ KBank, Krungsri, Krungthai, SCB, ttb Beverage (กลุ่มธุรกิจเครื่องดื่ม) ได้แก่ Coca Cola, Doi Kham, Dutch Mill, NESCAFÉ, Ovaltine
Broadcasting (กลุ่มสื่อภายใต้การดูแลของ กสทช.) ได้แก่ Amarin TV, Ch7HD, ONE31, ThaiPBS, Workpoint Construction Material (กลุ่มธุรกิจอุปกรณ์ที่ใช้ในการก่อสร้าง) ได้แก่ COTTO, HÄFELE, SCG, TOA, TPI Polene Consumer Electronics (กลุ่มธุรกิจอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับผู้ บริโภค) ได้แก่ Huawei, oppo, Samsung, Sony, VivoCosmetics (กลุ่มธุรกิจเครื่องสำอาง) ได้แก่ 4U2, Bobbi Brown, Cathy Doll, L'Oréal Paris, Maybelline
Delivery & Logistics (กลุ่มธุรกิจบริการขนส่ง คน สิ่งของ หรือ อาหาร) ได้แก่ Flash Express, foodpanda, Grab, LINE MAN, ไปรษณีย์ไทย Department Store & Super Store (กลุ่มธุรกิจห้างสรรพสินค้า หรือ Supermarket) ได้แก่ centralwOrld, ICONSIAM, King Power, Siam Paragon, The Mall
E-Commerce Platform (กลุ่มธุรกิจตลาดกลางพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์) ได้แก่ JD CENTRAL, Lazada, LINE SHOPPING, ShopAt24, Shopee
Financial Service (Credit Card) (กลุ่มธุรกิจผู้ให้บริการบัตรเครดิต)) ได้แก่ AEON Thana Sinsap, Citibank, Krungsri Credit Cards, Krungsri First Choice, KTC
Financial Service (Leasing) (กลุ่มธุรกิจผู้ให้บริการสินเชื่อทางการ เงิน) ได้แก่ Krungsri Auto, Toyota Leasing, เงินติดล้อ, ศรีสวัสดิ์ เงิน สดทันใจ, สมหวัง เงินสั่งได้
Food (กลุ่มธุรกิจอาหาร) ได้แก่ CP, Farmhouse, Lay’s, MAMA, Taokaenoi Gold & Jewelry (กลุ่มธุรกิจทองคำและอัญมณี) ได้แก่ Aurora, Pandora, RAVIPA, SWAROVSKI, ห้างทองเยาวราชกรุงเทพ Government & State Enterprise (กลุ่มหน่วยงานรัฐบาลและรัฐ วิสาหกิจ) ได้แก่ Amazing Thailand, กรมควบคุมโรค, กระทรวงการ คลัง, กระทรวงสาธารณสุข, สำนักงานประกันสังคม
Home & Decoration (กลุ่มธุรกิจตกแต่งบ้าน) ได้แก่ HomePro, IKEA, Index Living Mall, SB Design Square, ไทวัสดุ Hospital (กลุ่มธุรกิจบริการทางการแพทย์) ได้แก่ คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล, โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย, โรง พยาบาลธนบุรี, โรงพยาบาลบำรุงราษฎร์ อินเตอร์เนชั่นแนล, โรง พยาบาลราชวิถี
Hospitality & Tourism (กลุ่มธุรกิจการท่องเที่ยวและการโรงแรม) ได้แก่ Agoda, Love Andaman, Sri panwa, Traveloka, บ้านไร่ ไออรุณ Insurance (กลุ่มธุรกิจประกัน) ได้แก่ AIA, Krungthai-AXA, Muang Thai Life, Prudential, ทิพยประกันภัย Mom & Baby (กลุ่มธุรกิจสินค้าแม่และเด็ก) ได้แก่ Babylove, BEAR BRAND, D-nee, Enfa, S-26
Out of Home Entertainment (กลุ่มธุรกิจสถานบันเทิงและสวนสนุก) ได้แก่ House Samyan, Lido Connect, Major Cineplex, SF Cinema, Siam Amazing Park Personal Care (กลุ่มธุรกิจสินค้าของใช้ส่วนตัว) ได้แก่ Laurier, NIVEA, Sunsilk, Vaseline, Yves Rocher
Real Estate & Property Development (กลุ่มธุรกิจผู้พัฒนา อสังหาริมทรัพย์สำหรับที่อยู่อาศัย) ได้แก่ AP Thai, PRUKSA, Sansiri, SC ASSET, SUPALAI Restaurant (กลุ่มธุรกิจบริการอาหารและคาเฟ่) ได้แก่ Bar B Q Plaza, Café Amazon, KFC, Starbucks, The Pizza Company
Skincare (กลุ่มธุรกิจผลิตภัณฑ์บำรุงผิว) ได้แก่ Garnier, innisfree, Kiehl's, LANEIGE, Sulwhasoo Supermarket (กลุ่มธุรกิจจำหน่ายสินค้าในชีวิตประจำวัน) ได้แก่ Big C, Gourmet Market, Lotus’s, Makro, Tops Telecommunication (กลุ่มธุรกิจโทรคมนาคม) ได้แก่ AIS, dtac, FINN MOBILE, True Online, TrueMove H
Transportation (กลุ่มธุรกิจบริการขนส่งสาธารณะ) ได้แก่ AirAsia, BTS, MRT, Nok Air, Thai Airways ผู้เข้าชิงกลุ่มรางวัล
Best Entertainment Performance on Social Media
จำนวน 12 สาขา ได้แก่
Actor (สาขานักแสดงชาย) ได้แก่ กลัฟ คณาวุฒิ, กัน อรรถพันธ์, คริส พีรวัส, ไบร์ท วชิรวิชญ์, วิน เมธวิน Actress (สาขานักแสดงหญิง) ได้แก่ เบลล่า ราณี, โบว์ เมลดา, ใบ เฟิร์น พิมพ์ชนก, ใหม่ ดาวิกา, แอน ทองประสม Duo or Group Artist (สาขาศิลปินกลุ่ม) ได้แก่ 4EVE, BNK48, POTATO, Three Man Down, Tilly Birds
Female Artist (สาขาศิลปินหญิง) ได้แก่ BOWKYLION, Ink Waruntorn, MILLI, Violette Wautier, Zom Marie Male Artist (สาขาศิลปินชาย) ได้แก่ นนท์ ธนนท์, เบิ้ล ปทุมราช, มิว ศุภศิษฏ์, หนุ่ม กะลา, โอ๊ต ปราโมทย์ Online Channel (สาขารายการออนไลน์) ได้แก่ GoodDayOfficial, HeHaa TV, ohana clip, โคตรคูล, เสือร้องไห้
Podcast (สาขารายการพอดแคสต์) ได้แก่ 5 Minutes Podcast, Mission To The Moon, Readery, The Secret Sauce, คำนี้ดี Song (สาขาเพลงแห่งปี) ได้แก่ ทน - SPRITE X GUYGEEGEE, พิง - นนท์ ธนนท์, รักควรมีสองคน - พร จันทพร และ เนย ภัสวรรณ, วันเกิด ฉันปีนี้ (HBD to me) - Three Man Down, สองใจ - ดา เอ็นโดรฟิน
Thai Movie (สาขาภาพยนตร์ไทย) ได้แก่ ร่างทรง, เพราะเราคู่กัน The Movie, หอแต๋วแตก แหกโควิดปังปุริเย่, ส้มป่อย, อโยธยา มหาละลวยThai News Program (สาขารายการข่าว) ได้แก่ คุยข่าวเย็น, แฉ, ทุบ โต๊ะข่าว, เรื่องเล่าเช้านี้, โหนกระแส
Thai Series (สาขาละครไทย) ได้แก่ กระเช้าสีดา, นิทานพันดาว, พราวมุก, วันทอง, ให้รักพิพากษา Thai TV Program (สาขารายการโทรทัศน์) ได้แก่ SUPER10 ซูเปอร์ เท็น, T-POP STAGE SHOW, The Star Idol, The Wall Song ร้อง ข้ามกำแพง, ชิงร้อยชิงล้าน ว้าว ว้าว ว้าว
รางวัล Best Influencer Performance on Social Media
จำนวน 19 สาขา ได้แก่
Academic (สาขาการศึกษา) ได้แก่ Kru Whan : English on Air-ครูพี่หวาน, Perfect English กับครูพี่แอน, Slang A-hO-lic, เรียนเหอะ อยากสอน, อาจารย์อดัม Art & Design (สาขาศิลปะ และการออกแบบ) ได้แก่ jaytherabbitofficial, kidmakk, kiwtum, sibbil_, Sundae Kids Automotive (สาขายานยนต์) ได้แก่ autolifethailand official, Autospinn.Fans, Life of Cars Bkk - ตามติดชีวิต 4 ล้อ, Motocross Magazine, XO Autosport
Beauty & Fashion (สาขาความสวย ความงาม และแฟชั่น) ได้แก่ Archita Station, Eyeta, Gamgy makeup, Nune noppaluck, จือปาก Change Maker (สาขาผู้เคลื่อนไหวทางสังคม) ได้แก่ Environman, Greenpeace Thailand, iLaw, THAT MAD WOMAN, Wannasingh Prasertkul
Cooking & Chef (สาขาการทำอาหาร) ได้แก่ KRUA.CO by sangdad, Pimmy ชวนกินของอร่อย, กับข้าวกับปลาโอ Plaocooking, ทำกินเอง, หมีมีหม้อ Family & Senior (สาขาครอบครัวและผู้สูงอายุ) ได้แก่ เกษียณสำราญ, มนุษย์ต่างวัย, ยายชมภูพากินพาเที่ยว, หญิงชรา กะ หมาน้อย, อุ้ย เกี๋ยงและผองเพื่อน
Film & Literature (สาขาภาพยนตร์ และวรรณกรรม) ได้แก่ JUST ดู IT., Point of View, Roundfinger, Tang Makkaporn, เรื่องเล่าของเรา Food & Dining (สาขาร้านอาหาร) ได้แก่ EatGuide เพื่อนซี้เวลาหิว, KP ตะลอนแหลก, Starvingtime เรื่องกินเรื่องใหญ่, ชีวิตติดรีวิว, วันนี้กิน ไรดีวะ
Gadget & Technology (สาขาแก็ดแจ็ตและเทคโนโลยี) ได้แก่ Ceemeagain, IAUMReview รีวิวมือถือ & อัพเดทข่าวไอที, iMoD, LDA ลดา - Ladies of Digital Age, นายอาร์ม Gaming & Esport (สาขาเกมมิ่ง) ได้แก่ BoxSkin Channel, Gssspotted, TONKLA, Zbing, กิต งายย Health & Wellness (สาขาสุขภาพและการออกกำลังกาย) ได้แก่ Bebe Fit Routine, Fit Kab Dao, Forcejun, Runner's journey, แหมทำเป็น ฟิต
Investment & Personal Finance (สาขาการเงินและการลงทุน) ได้แก่ Money Buffalo, TaxBugnoms, ถามอีก กับอิก Tam-Eig, ลงทุนแมน, ลงทุนศาสตร์ - Investerest Local Culture (สาขาผู้ผลิตเนื้อหาเชิงท้องถิ่น) ได้แก่ 4แสนมิติ, DEEN VLOG, รีวิวเชียงใหม่, หาดใหญ่โฟกัส, อีสานพาสวบ แฟนเพจ Parenting & Kids (สาขาพ่อ แม่ และ เด็ก) ได้แก่ All by On'oum, Bo Vanda Sahawong, Guy Haru Family, Little Monster, Ple Nakorn
Pets (สาขาสัตว์เลี้ยง) ได้แก่ Kingdom Of Tigers: ทูนหัวของบ่าว, MUJI SAMA, เค้าเรียกผมว่าแมว, ชิเอลแมวมึน, เป็นแม่แมว Travel (สาขาท่องเที่ยว) ได้แก่ I Roam Alone, Pigkaploy, TripTH ทริ ปไทยแลนด์, Wherever I Go, วิ ศ ว ะ พ า เ ที่ ย ว
Variety (สาขาไลฟ์สไตล์) ได้แก่ Ananped, Kyutae Oppa, My Mate Nate, NANAKE555, Softpomz vTuber (สาขาผู้ผลิตเนื้อหาโดยตัวละครสมมติ) ได้แก่ Aisha Channel, Hinabe HongFei, HØRI 07, Laguna JuJu, Laibaht Channel